ผู้ก่อตั้งวิทยาศาสตร์
Get Adobe Flash player

มุมสำหรับครู

ผู้อำนวยการโรงเรียน

เข้าสู่ระบบ

ขณะนี้เวลา

จำนวนผู้เข้าชม

11074821
วันนี้
เมื่อวานนี้
สัปดาห์นี้
สัปดาห์ที่ผ่านมา
เดือนนี้
เดือนที่แล้ว
รวมทั้งสิ้น
44
189
676
11073188
3916
6075
11074821

Your IP: 34.228.239.171
Server Time: 2024-03-29 08:50:05

หลอดทดลอง บีกเกอร์ เครื่องชั่ง กล้องจุลทรรศน์ กล้องดูดาว ชามระเหย สามขา ตะแกงลวด คีม กระจกนาฬิกา ฯลฯ ... อ่ะ อ่ะ ไม่ต้องเอาคิ้วไปชนกันให้เมื่อยค่ะ หลายคนคงสงสัยว่า ทำไมเราถึงเอ่ยชื่ออุปกรณ์หรือเครื่องมือวิทยาศาสตร์ต่าง ๆ มาบอกเล่ากัน

          เนื่อง จากในทุก ๆ วันที่ 18 สิงหาคม ของทุกปี เป็นอีกวันหนึ่งที่มีความสำคัญในวงการวิทยาศาสตร์ วงการดาราศาสตร์ และวงการศึกษาของไทย เพราะถ้าย้อนอดีตกลับไปเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ.2411 จะเป็นวันที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 "พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย" ได้เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรสุริยุปราคาเต็มดวง ที่ตำบลหว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ หลังจากที่พระองค์ทรงคำนวณการเกิดสุริยุปราคาไว้ล่วงหน้า 2 ปี ต่อมาคณะรัฐมนตรีจึงกำหนดให้วันที่ 18 สิงหาคมของทุกปี เป็น "วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ" ...วันนี้กระปุกดอทคอมเลยจะพาไปทำรู้จักที่มาที่ไป และประวัติของ วันวิทยาศาสตร์ กันค่ะ...

          แต่ก่อนอื่นเราจะพาไปรู้จักความหมายของ "วิทยาศาสตร์" (Science) กันก่อน ซึ่งจริง ๆ แล้วคำว่า วิทยาศาสตร์ หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติ ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวลความรู้เชิงประจักษ์ ที่เรียกว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกลุ่มขององค์ความรู้ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว ทั้งนี้ การศึกษาในด้านวิทยาศาสตร์ยังถูกแบ่งย่อยออกเป็น วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และ วิทยาศาสตร์ประยุกต์

 

ด.ช.ศตวรรษ  พัฒนาศูนย์

 

ด.ช.ทนงฤทธิ์  ศรีประดู่