ประวัติ เสือเขียวดาบ
Get Adobe Flash player

มุมสำหรับครู

ผู้อำนวยการโรงเรียน

เข้าสู่ระบบ

ขณะนี้เวลา

จำนวนผู้เข้าชม

11074764
วันนี้
เมื่อวานนี้
สัปดาห์นี้
สัปดาห์ที่ผ่านมา
เดือนนี้
เดือนที่แล้ว
รวมทั้งสิ้น
176
32
619
11073188
3859
6075
11074764

Your IP: 18.232.88.17
Server Time: 2024-03-28 21:32:03

  กระบวนการเกิดซากดึกดำบรรพ์เริ่มจากสิ่งมีชีวิตเมื่อหลายล้านปีก่อนตายลงใน บริเวณที่เป็นโคลนเลน ทะเลสาบ แม่น้ำ หรือชายทะเล เมื่อเวลาผ่านไป ส่วนที่เป็นเนื้อหนังจะเน่าสลาย เหลือแต่โครงกระดูก และถูกทับถมด้วยตะกอน  อย่างฉับพลัน นานวันเข้าชั้นตะกอนหน้าขึ้นเรื่อย ๆ แล้วแข็งตัวกลายเป็นหิน ซากกระดูกจะถูกเก็บรักษาไว้ในชั้นหินนั้น กลายเป็น “ซากดึกดำบรรพ์” ในประเทศไทย ที่เหมืองลิกไนต์ อ.คลองท่อม จ.กระบี่ เป็นบริเวณที่มีการขุดพบซากดึกดำบรรพ์มากที่สุด โดยเฉพาะสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหลายชนิด ในปี พ.ศ. 2533 คุณวราวุธ สุธีธร นักธรณีวิทยาจากกรมทรัพยากรธรณีได้ขุดพบเขี้ยวของเสือเขี้ยวดาบ (Nirvanas Mongolians) เป็นครั้งแรกในเมืองไทยที่เหมืองแห่งนี้ เขี้ยวดาบที่พบยาวประมาณ 6 ซม. และยังพบกระดูกของมันอีกหลายชิ้น คาดว่ามีอายุในช่วง 40-35 ล้านปี เสือเขี้ยวดาบเป็นสัตว์คล้ายเสือในวงศ์นิมราวิดี (Nimravidae) มันสูญพันธุ์ไปเมื่อหลายสิบล้านปีก่อน

ด.ช.สุรชัย จันทร์มี

ด.ช.ชาญณรงค์ ย่อยกลาง

ด.ช.รัฐธรรมนูญ คงถิ่นฐาน